ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ประโยขน์จากศาสตร์พระราชา เรื่อง โครงการสวนจิตรลดา

กลุ่มของข้าพเจ้าได้ศึกษาในศาสตร์พระราชา เรื่อง โครงการสวนจิตรลดา ได้รับประโยชน์ ดังนี้ 

                                                     
                             1.มุ่งเน้นการดำเนินงานโดยยึดแนวพระราชดำริของพระองค์เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
                             2. ประหยัดเวลารวมไปถึงค่าใช้จ่ายในส่วนต่างๆ โดยดำเนินการภายใต้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
                             3.นำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดด้วยกระบวนการผลิตที่ง่าย
ความรู้สึกของสมาชิกในกลุ่มหลังจากได้ศึกษาศาสตร์พระราชาโครงการสวนจิตรลดา ดังนี้
                                                       สมาชิกคนที่1 ด.ญ. พิมพ์ลดา สมัครสมาน มีความเห็นว่า
โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา นี้ยึดหลักแนวพระราชดำริของพระองค์ที่ว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสามารถพึ่งพาตนเองได้ ลดการนำเข้าสินค้าจากตต่างประเทศ นำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เป็นต้น
 และสามารถนำไปในชีวิตประจำวันได้ ดังนี้ 
 1.การทำเศรษฐกิจพอเพียง 
 2.การพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรอย่างยั่งยืน 
 3.สามารถพึ่งพาตนเองได้ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
                                                      สมาชิกคนที่2 ด.ญ. ภัทรวดี ยกย่อง มีความเห็นว่า
โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา เป็นโครงการที่เริ่มดำเนินการจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ และดำเนินการต่อมาด้วยรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ รวมทั้งจากการทูลเกล้าฯ ถวายเงินสนับสนุน และการน้อมเกล้าฯ ถวายอาคาร เครื่องมือ และคำแนะนะต่าง ๆ จึงเป็นหน่วยงานราชการเพียงหน่วยงานเดียวที่สามารถบริหารจัดการด้านบัญชีและการเงินเอง โดยไม่ได้รับงบประมาณแผ่นดินสนับสนุน แต่ละโรงงานจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายของตัวเอง มีบัญชีเบิกจ่ายแยกกันไปในแต่ละโรงงาน
และสามารถนำไปในชีวิตประจำวันได้ ดังนี้ 
 1.เป็นโครงการศึกษาทดลอง
 2.เป็นโครงการตัวอย่าง ให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้ามาทำการศึกษา เพื่อสามารถนำกลับไปดำเนินการเองได้
 3.เป็นโครงการที่ไม่หวังผลตอบแทน (เชิงธุรกิจ)
                                          สมาชิกคนที่3 ด.ญ. มัญชุพร เขตสระน้อย มีความเห็นว่า
โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน เพื่อศึกษา ทดลองและวิจัยหาวิธีแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับงานทางด้านการเกษตรต่างๆ เช่น การปลูกข้าว การเลี้ยงโคนม การเพาะพันธุ์ปลานิล และอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งผลการศึกษาสามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็นแบบอย่างในการนำไปปฏิบัติตาม
และสามารถนำไปในชีวิตประจำวันได้ ดังนี้ 
 1.การทำเศรษฐกิจพอเพียง 
 2.การพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรอย่างยั่งยืน 
 3.สามารถพึ่งพาตนเองได้ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
                                                      สมาชิกคนที่4 ด.ญ. วริศรา ข้องนอก มีความเห็นว่า
                             สวนจิตรลดา นั้นจะมุ่งเน้นการดำเนินงานโดยยึดแนวพระราชดำริของพระองค์เกี่ยวกับ “เศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรอย่างยั่งยืน ให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้ ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรภายในประเทศ เพื่อลดการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ และได้มีการนำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดด้วยกระบวนการผลิตที่ง่าย แต่มีประสิทธิภาพ ประหยัดเวลารวมไปถึงค่าใช้จ่ายในส่วนต่างๆ โดยดำเนินการภายใต้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่มีการศึกษา ทดลองเก็บรวบรวมข้อมูล ก่อนที่จะเผยแพร่องค์ความรู้ให้แก่เกษตรกร ประชาชน และผู้ที่สนใจทั่วไปให้ได้นำไปใช้กัน                       
และสามารถนำไปในชีวิตประจำวันได้ ดังนี้
 1.การดำรงชีวิตเกี่ยวกับเศษฐกิจพอเพียง
 2.การนำวัสดุเหลือใช้ทางเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
 3.พัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน
  

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ตำหนักสวนจิตรลดาของโครงการสวนจิตรลดา

ตำหนักสวนจิตรลดาของโครงการสวนจิตรลดา ตำหนักสวนจิตรลดา  เป็นตำหนักซึ่งเดิมเป็นของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว  ขณะทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ อยู่ใกล้กับ วังปารุสกวัน  เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้นครองราชย์ โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง  พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน  ขึ้นบริเวณทุ่งส้มป่อย และทรงย้ายไปประทับที่นั่น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานตำหนักสวนจิตรลดา แลกเปลี่ยนกับที่ดินบริเวณ ท่าวาสุกรี  ของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ แต่เมื่อวันที่ 2 สิงหาคมได้ทรงดำรัสสร้างหอขึ้นมาอีกแห่งอยู่ที่จังหวัด นนทบุรี  ปัจจุบัน เมื่อกล่าวถึง  ตำหนักสวนจิตรลดา  มักสับสนกับ  สวนจิตรลดา  หรือ  พระตำหนักสวนจิตรลดา  ซึ่งหมายถึง  พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน   พระราชวังดุสิต                                                  ...

ผลผลิตของโครงการสวนจิตรลดา

ผลผลิตของโครงการสวนจิตรลดา โรงนมผงสวนดุสิต            โรงนมผงสวนดุสิตตั้งขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ เนื่องจากเกิดภาวะนมสดล้นตลาด สมาชิกผู้เลี้ยงโคนมจึงได้ทูลเกล้าถวายฎีกาให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงช่วยเหลือ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงนมผงขนาดย่อมขึ้น เพื่อผลิตนมผงเป็นการแก้ปัญหานมสดล้นตลาด น้ำกลั่น             น้ำกลั่นเป็นผลผลิตพลอยได้จากเครื่องระเหยนมซึ่งมีความบริสุทธิ์ค่อนข้างสูงและมีมากพอที่จะนำไปผลิตเป็นน้ำกลั่นเพื่อใช้เติมแบตเตอรี่รถยนต์และใช้ดื่มได้ งานทดลองผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิง              งานทดลองผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงเริ่มขึ้นเมื่อปีพ.ศ. ๒๕๒๘ โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชกระแสให้ศึกษาต้นทุนการผลิตแอลกอฮอล์จากอ้อย เพราะว่าในอนาคตอาจเกิดเหตุการณ์น้ำมันขาดแคลนหรืออ้อยราคาต่ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานเงินเป็นทุนวิจัยใช้ในการดำเนินงาน ๙๒๕,๕๐๐ บาท              เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ โครงการส่วน...

ตัวอย่างโครงการสวยจิตรลดา

ตัวอย่างโครงการสวนจิตรลดา โรงโคนมสวนจิตรลดา               เริ่มจากในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ ได้มีบริษัทและหน่วยราชการน้อมเกล้าฯ ถวายโค ๖ ตัว ซึ่งเป็นโคตั้งท้องแล้ว ๔ ตัว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์สำหรับสร้างโรงงานโคนม ราคา ๓๒,๘๘๖.๗๓ บาท ขึ้นในบริเวณสวนจิตรลดา ต่อมาเมื่อแม่โคตกลูกและเริ่มทำการรีดนม น้ำนมที่เหลือจากการแบ่งให้ลูกโคกินแล้ว ได้นำไปจำหน่าย เมื่อมีจำนวนโคนมเพิ่มขึ้น ทั้งจากแม่โคที่ให้ลูกทุกปี และมีผู้น้อมเกล้าฯ ถวายสมทบ ทำให้สามารถผลิตน้ำนมออกจำหน่ายแก่บุคคลภายนอกและโรงเรียนต่าง ๆ ในละแวกใกล้เคียง เมื่อมีกำไรสะสมมากยิ่งขึ้น ก็ได้ขยายงานออกไปตามลำดับทั้งในด้านการผลิตน้ำนม คุณภาพนมดิบ และการส่งเสริมอาชีพแก่เกษตรกร                ผลพลอยได้จากโรงโคนมคือ มูลโคซึ่งเมื่อนำมาหมักจะได้ "ไบโอแก๊ส" หรือ "แก๊สชีวภาพ" สำหรับเป็นเชื้อเพลิง กากจากบ่อหมักแก๊สชีวภาพยังสามารถใช้ทำเป็นปุ๋ย มูลโคที่เป็นสารละลายที่อยู่ในถังหมัก ส่วนหนึ่งนำไปใช้สำหรับเพาะเลี้ยงสาหร่ายเกลียว...